สาขาวิชาศิลปศาสตร์
หลักสูตรระดับปริญญาตรีและต่ำกว่าระดับปริญญาตรี
ประจำปีการศึกษา 2567
หลักสูตรระดับประกาศนียบัตร จำนวน 7 หลักสูตร ได้แก่
ประกอบด้วย 4 กลุ่มวิชา คือ
ประกอบด้วย 10 กลุ่มวิชา คือ
– กลุ่มวิชาเฉพาะอาชีพคอมพิวเตอร์ (ไม่เปิดรับนักศึกษา)
– กลุ่มวิชาเฉพาะอาชีพกฎหมาย (ไม่เปิดรับนักศึกษา)
หลักสูตรระดับปริญญาตรี จำนวน 3 หลักสูตร ได้แก่
ประกอบด้วย 4 กลุ่มวิชา คือ
ข้อมูลหลักสูตรระดับประกาศนียบัตร
หลักสูตรประกาศนียบัตรภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร
Certificate Program in Chinese for Communication
ชื่อประกาศนียบัตร
ชื่อเต็มภาษาไทย
ประกาศนียบัตรภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร
อักษรย่อภาษาไทย
ป.จส.
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
Certificate in Chinese for Communication
อักษรย่อภาษาอังกฤษ
Cert. in CC.
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
1.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
2.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และ
ประกอบอาชีพมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี หลังสำเร็จการศึกษา นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา หรือ
3.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง
โดยมีอายุไม่ตํ่ากว่า 25 ปีบริบูรณ์ นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา หรือ
4.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และ
ผ่านการอบรมหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรที่สภามหาวิทยาลัยนั้น ๆ รับรอง หรือ
5.
สำเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญา หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่ง หรือเทียบเท่า หรือสูงกว่าจากสถาบันอุดมศึกษาอื่น
ที่สภามหาวิทยาลัยนั้น ๆ รับรอง
6.
ผู้ที่สามารถใช้ภาษาไทยได้เป็นอย่างดี
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชางานสารสนเทศ
Certificate Program in Information Work
ชื่อประกาศนียบัตร
ชื่อเต็มภาษาไทย
ประกาศนียบัตรวิชางานสารสนเทศ
อักษรย่อภาษาไทย
ป. วิชางานสารสนเทศ
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
Certificate in Information Work
อักษรย่อภาษาอังกฤษ
Cert. in Information Work
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
1.
สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าขั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และ
ประกอบอาชีพมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี หลังจากจบมัธยมศึกษาตอนต้น หรือมีอายุไม่น้อยกว่า 25 ปีบริบูรณ์
ในวันเปิดภาคการศึกษาที่สมัคร หรือ
2.
สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง
หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
3.
สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า หรืออนุปริญญาหรือเทียบเท่า
หรือปริญญาตรีหรือเทียบเท่า จากสถาบันอุดมศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยนั้น ๆ รับรอง หรือ
4.
สำเร็จการศึกษาจากการศึกษานอกระบบ หรือผู้ที่ศึกษาตามอัธยาศัย และได้รับการเทียบโอนผลการศึกษา
ซึ่งสภาวิชาการพิจารณาแล้วเห็นสมควรให้รับเข้าศึกษาได้
กลุ่มวิชางานห้องสมุด
กลุ่มวิชางานศูนย์สื่อการศึกษาและแหล่งเรียนรู้
กลุ่มวิชางานสำนักงาน
กลุ่มวิชางานสารสนเทศการท่องเที่ยวและศิลปวัฒนธรรม
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาภาษาเขมร
Certificate Program in Khmer Language
ชื่อประกาศนียบัตร
ชื่อเต็มภาษาไทย
ประกาศนียบัตรวิชาภาษาเขมร
อักษรย่อภาษาไทย
ป.ข.
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
Certificate in Khmer Language
อักษรย่อภาษาอังกฤษ
Cert. in Khmer Lang.
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
1.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และ
ประกอบอาชีพมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี หลังสำเร็จการศึกษา นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา หรือ
2.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง
โดยมีอายุไม่ต่ำกว่า 25 ปีบริบูรณ์ นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา หรือ
3.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และ
ผ่านการอบรมหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรที่สภามหาวิทยาลัยนั้นๆ รับรอง หรือ
4.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
5.
สำเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญา หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่ง หรือเทียบเท่าจากสถาบันอุดมศึกษาที่
สภามหาวิทยาลัยนั้นๆ รับรอง
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาภาษาไทย
Certificate Program in Thai
ชื่อประกาศนียบัตร
ชื่อเต็มภาษาไทย
ประกาศนียบัตรวิชาภาษาไทย
อักษรย่อภาษาไทย
ป. วิชาภาษาไทย
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
Certificate in Thai
อักษรย่อภาษาอังกฤษ
Cert. in Thai
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
1.
สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าขั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และประกอบ
อาชีพมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี หลังจากจบมัธยมศึกษาตอนต้น หรือมีอายุไม่น้อยกว่า 25 ปีบริบูรณ์ ในวันเปิดภาค
การศึกษาที่สมัคร หรือผ่านการอบรมหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรที่สภามหาวิทยาลัยนั้นๆ รับรอง หรือ
2.
สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่าตามที่
กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
3.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า
หรืออนุปริญญาหรือเทียบเท่า หรือปริญญาตรีหรือเทียบเท่า จากสถาบันอุดมศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยนั้นๆ รับรอง
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะอาชีพ
Certificate Program in English for Specific Careers
ชื่อประกาศนียบัตร
กลุ่มวิชาเฉพาะอาชีพธุรกิจ
ชื่อเต็มภาษาไทย
ประกาศนียบัตรวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะอาชีพ (ธุรกิจ)
อักษรย่อภาษาไทย
ป.ออ. (ธุรกิจ)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
Certificate in English for Specific Careers (Business)
อักษรย่อภาษาอังกฤษ
Cert. in ESC (Business)
กลุ่มวิชาเฉพาะอาชีพการท่องเที่ยว
ชื่อเต็มภาษาไทย
ประกาศนียบัตรวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะอาชีพ (การท่องเที่ยว)
อักษรย่อภาษาไทย
ป.ออ. (การท่องเที่ยว)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
Certificate in English for Specific Careers (Tourism)
อักษรย่อภาษาอังกฤษ
Cert. in ESC (Tourism)
กลุ่มวิชาเฉพาะอาชีพการโรงแรม
ชื่อเต็มภาษาไทย
ประกาศนียบัตรวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะอาชีพ (การโรงแรม)
อักษรย่อภาษาไทย
ป.ออ. (การโรงแรม)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
Certificate in English for Specific Careers (Hotel)
อักษรย่อภาษาอังกฤษ
Cert. in ESC (Hotel)
กลุ่มวิชาเฉพาะอาชีพงานสำนักงาน
ชื่อเต็มภาษาไทย
ประกาศนียบัตรวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะอาชีพ (งานสำนักงาน)
อักษรย่อภาษาไทย
ป.ออ. (งานสำนักงาน)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
Certificate in English for Specific Careers (Office Work)
อักษรย่อภาษาอังกฤษ
Cert. in ESC (Office Work)
กลุ่มวิชาเฉพาะอาชีพคอมพิวเตอร์
ชื่อเต็มภาษาไทย
ประกาศนียบัตรวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะอาชีพ (คอมพิวเตอร์)
อักษรย่อภาษาไทย
ป.ออ. (คอมพิวเตอร์)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
Certificate in English for Specific Careers (Computer)
อักษรย่อภาษาอังกฤษ
Cert. in ESC (Computer)
กลุ่มวิชาเฉพาะอาชีพการสาธารณสุข
ชื่อเต็มภาษาไทย
ประกาศนียบัตรวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะอาชีพ (การสาธารณสุข)
อักษรย่อภาษาไทย
ป.ออ. (การสาธารณสุข)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
Certificate in English for Specific Careers (Public Health)
อักษรย่อภาษาอังกฤษ
Cert. in ESC (Public Health)
กลุ่มวิชาเฉพาะอาชีพช่าง
ชื่อเต็มภาษาไทย
ประกาศนียบัตรวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะอาชีพ (ช่าง)
อักษรย่อภาษาไทย
ป.ออ. (ช่าง)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
Certificate in English for Specific Careers (Technicians)
อักษรย่อภาษาอังกฤษ
Cert. in ESC (Technicians)
กลุ่มวิชาเฉพาะอาชีพการเกษตร
ชื่อเต็มภาษาไทย
ประกาศนียบัตรวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะอาชีพ (การเกษตร)
อักษรย่อภาษาไทย
ป.ออ. (การเกษตร)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
Certificate in English for Specific Careers (Agriculture)
อักษรย่อภาษาอังกฤษ
Cert. in ESC (Agriculture)
กลุ่มวิชาเฉพาะอาชีพครู
ชื่อเต็มภาษาไทย
ประกาศนียบัตรวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะอาชีพ (ครู)
อักษรย่อภาษาไทย
ป.ออ. (ครู)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
Certificate in English for Specific Careers (Teaching)
อักษรย่อภาษาอังกฤษ
Cert. in ESC (Teaching)
กลุ่มวิชาเฉพาะอาชีพกฎหมาย
ชื่อเต็มภาษาไทย
ประกาศนียบัตรวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะอาชีพ (กฎหมาย)
อักษรย่อภาษาไทย
ป.ออ. (กฎหมาย)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
Certificate in English for Specific Careers (Law)
อักษรย่อภาษาอังกฤษ
Cert. in ESC (Law)
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
1.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และ
ประกอบอาชีพมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี หลังสำเร็จการศึกษา นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา หรือ
2.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง
โดยมีอายุไม่ต่ำกว่า 25 ปีบริบูรณ์ นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา หรือ
3.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และ
ผ่านการอบรมหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรที่สภามหาวิทยาลัยนั้นๆ รับรอง หรือ
4.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
5.
สำเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญา หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่ง หรือเทียบเท่าจากสถาบันอุดมศึกษาอื่น
ที่สภามหาวิทยาลัยนั้น ๆ รับรอง
กลุ่มวิชาเฉพาะอาชีพธุรกิจ
กลุ่มวิชาเฉพาะอาชีพการท่องเที่ยว
กลุ่มวิชาเฉพาะอาชีพการโรงแรม
กลุ่มวิชาเฉพาะอาชีพงานสำนักงาน
กลุ่มวิชาเฉพาะอาชีพคอมพิวเตอร์
กลุ่มวิชาเฉพาะอาชีพการสาธารณสุข
กลุ่มวิชาเฉพาะอาชีพช่าง
กลุ่มวิชาเฉพาะอาชีพการเกษตร
กลุ่มวิชาเฉพาะอาชีพครู
กลุ่มวิชาเฉพาะอาชีพกฎหมาย
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาศึกษาทั่วไป
Certificate Program in General Education
ชื่อประกาศนียบัตร
ชื่อเต็มภาษาไทย
ประกาศนียบัตรวิชาศึกษาทั่วไป
อักษรย่อภาษาไทย
ป. วิชาศึกษาทั่วไป
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
Certificate in General Education
อักษรย่อภาษาอังกฤษ
Cert. in General Education
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
สำหรับบุคคลทั่วไปผู้สนใจศึกษาในระบบการศึกษาทางไกลและมีความใฝ่รู้ตลอดชีวิต โดยไม่จำกัดอายุและวุฒิการศึกษา
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาสังคมและวัฒนธรรมไทย
Certificate Program in Thai Social and Cultural Studies
ชื่อประกาศนียบัตร
ชื่อเต็มภาษาไทย
ประกาศนียบัตรวิชาสังคมและวัฒนธรรมไทย
อักษรย่อภาษาไทย
ป. วิชาสังคมและวัฒนธรรมไทย
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
Certificate in Thai Social and Cultural Studies
อักษรย่อภาษาอังกฤษ
Cert. in Thai Social and Cultural Studies
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
1.
สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าขั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และประกอบ
อาชีพมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี หลังจากจบมัธยมศึกษาตอนต้น หรือมีอายุไม่น้อยกว่า 25 ปีบริบูรณ์ ในวันเปิดภาค
การศึกษาที่สมัคร หรือผ่านการอบรมหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรที่สภามหาวิทยาลัยนั้น ๆ รับรอง หรือ
2.
สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่าตามที่
กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
3.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า
หรืออนุปริญญาหรือเทียบเท่า หรือปริญญาตรีหรือเทียบเท่าจากสถาบันอุดมศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยนั้น ๆ รับรอง
ข้อมูลหลักสูตรระดับปริญญาตรี
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต แขนงวิชาไทยคดีศึกษา
Bachelor of Arts Program in Thai Studies
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็มภาษาไทย
ศิลปศาสตรบัณฑิต (ไทยคดีศึกษา)
อักษรย่อภาษาไทย
ศศ.บ. (ไทยคดีศึกษา)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
Bachelor of Arts (Thai Studies)
อักษรย่อภาษาอังกฤษ
B.A. (Thai Studies)
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
1.
สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
2.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
3.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรือเทียบเท่า ทุกสาขาวิชา หรือ
4.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า ทุกสาขาวิชา หรือ
5.
สำเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญา หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่ง หรือเทียบเท่า ทุกสาขาวิชาจากสถาบันอุดมศึกษา
ที่สภามหาวิทยาลัยนั้น ๆ รับรอง
หมายเหตุ
1)
ผู้มีคุณสมบัติตามข้อ 1 – 5 ต้องไม่เป็นโรคที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา หรือเคยถูกถอนสถานภาพ
การเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัยเนื่องจากความประพฤติเสื่อมเสีย
2)
บุคคลซึ่งเคยถูกถอนสถานภาพการเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัย เนื่องจากความประพฤติเสื่อมเสีย
จะกลับเข้าศึกษาใหม่ได้เป็นรายกรณี หากสภาวิชาการพิจารณาเห็นสมควรให้เข้าศึกษา เมื่อพ้นกำหนด 5 ปี
นับแต่วันประกาศถอนสถานภาพการเป็นนักศึกษา หรือเป็นนักศึกษาโครงการความร่วมมือในการจัดการศึกษาให้พิจารณาเป็นรายกรณี
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต แขนงวิชาภาษาอังกฤษ
Bachelor of Arts Program in English
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็มภาษาไทย
ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษ)
อักษรย่อภาษาไทย
ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
Bachelor of Arts (English)
อักษรย่อภาษาอังกฤษ
B.A. (English)
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
คุณสมบัติเฉพาะ
1.
ผู้สมัครต้องมีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ในการใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตได้เป็นอย่างดี
เนื่องจากหลักสูตรนี้ใช้ระบบการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์และสื่อซีดีมัลติมีเดียเป็นส่วนใหญ่
2.
ผู้สมัครต้องมีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาไทยในการอ่านและเขียนได้เป็นอย่างดี เนื่องจากหลักสูตรนี้ใช้
ภาษาไทยเป็นสื่อในการเรียนการสอน
วุฒิการศึกษา
1.
สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
2.
สำเร็จการศึกษาอนุปริญญาหรือเทียบเท่า หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่งหรือเทียบเท่าจากสถาบันอุดมศึกษาอื่น
ที่สภามหาวิทยาลัยนั้นๆ รับรอง
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์
Bachelor of Arts Program in Information Science
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็มภาษาไทย
ศิลปศาสตรบัณฑิต (สารสนเทศศาสตร์)
อักษรย่อภาษาไทย
ศศ.บ. (สารสนเทศศาสตร์)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
Bachelor of Arts (Information Science)
อักษรย่อภาษาอังกฤษ
B.A. (Information Science)
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
1.
สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
2.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
3.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือ
4.
สำเร็จการศึกษาอนุปริญญา หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่ง หรือเทียบเท่าจากสถาบันอุดมศึกษาที่สภามหาวิทยาลัย
นั้น ๆ รับรอง
หมายเหตุ
1)
ผู้มีคุณสมบัติตามข้อ 1 – 4 ต้องไม่เป็นโรคที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา หรือเคยถูกถอนสถานภาพ
การเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัยเนื่องจากความประพฤติเสื่อมเสีย
2)
บุคคลซึ่งเคยถูกถอนสถานภาพการเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัย เนื่องจากความประพฤติเสื่อมเสีย
จะกลับเข้าศึกษาใหม่ได้เป็นรายกรณี หากสภาวิชาการพิจารณาเห็นสมควรให้เข้าศึกษา เมื่อพ้นกำหนด 5 ปี
นับแต่วันประกาศถอนสถานภาพการเป็นนักศึกษา หรือเป็นนักศึกษาโครงการความร่วมมือในการจัดการศึกษาให้พิจารณาเป็นรายกรณี
กลุ่มวิชางานศูนย์สารสนเทศและห้องสมุด
กลุ่มวิชางานศูนย์สื่อการศึกษาและแหล่งเรียนรู้
กลุ่มวิชางานสำนักงาน
กลุ่มวิชางานสารสนเทศการท่องเที่ยวและศิลปวัฒนธรรม
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ศูนย์สารสนเทศ โทร. 0 2504 7788
Last updated: 25-March-2024; 11:55 AM
จัดทำข้อมูลโดย ฝ่ายพัฒนาหลักสูตรและการสอน สำนักวิชาการ
จัดทำระบบโดย คณะทำงานบริหารสารสนเทศในระบบอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช