สาขาวิชานิเทศศาสตร์

หลักสูตรระดับปริญญาตรีและต่ำกว่าระดับปริญญาตรี
ประจำปีการศึกษา 2568

หลักสูตรระดับประกาศนียบัตร จำนวน 6 หลักสูตร

 ประกอบด้วย 6 กลุ่มวิชา คือ

หลักสูตรระดับปริญญาตรี จำนวน 1 หลักสูตร

ข้อมูลหลักสูตรระดับประกาศนียบัตร

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพนิเทศศาสตร์

Certificate Program in Communication Arts

ชื่อประกาศนียบัตร

ชื่อเต็มภาษาไทย

ประกาศนียบัตรวิชาชีพนิเทศศาสตร์

อักษรย่อภาษาไทย

ป. วิชาชีพนิเทศศาสตร์

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ

Certificate in Communication Arts

อักษรย่อภาษาอังกฤษ

Cert. in Communication Arts

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

1.

สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และประกอบอาชีพ
มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี หลังจากจบมัธยมศึกษาตอนต้น หรือมีอายุไม่น้อยกว่า 25 ปีบริบูรณ์ในวันเปิดภาคการศึกษา
ที่สมัคร หรือผ่านการอบรมหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรที่สภามหาวิทยาลัยนั้นๆ รับรอง หรือ

2.

สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่าตามที่
กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ

3.

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า หรืออนุปริญญาหรือเทียบเท่า หรือ
ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า จากสถาบันการศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยนั้นๆ รับรอง

กลุ่มวิชาวารสารศาสตร์

กลุ่มวิชาวิทยุกระจายเสียง

กลุ่มวิชาโทรทัศน์

กลุ่มวิชาภาพยนตร์

กลุ่มวิชาการโฆษณา

กลุ่มวิชาการประชาสัมพันธ์

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพกลยุทธ์การสื่อสารการตลาดในยุคดิจิทัล

Certificate Program in Digital Marketing Communication Strategies

ชื่อประกาศนียบัตร

ชื่อเต็มภาษาไทย

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพกลยุทธ์การสื่อสารการตลาดในยุคดิจิทัล

อักษรย่อภาษาไทย

ป. กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดในยุคดิจิทัล

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ

Certificate in Digital Marketing Communication Strategies

อักษรย่อภาษาอังกฤษ

Cert. in Digital Marketing Communication Strategies

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

1.

สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และ
ประกอบอาชีพมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี หลังจากจบมัธยมศึกษาตอนต้น หรือมีอายุไม่น้อยกว่า 25 ปีบริบูรณ์
ในวันเปิดภาคการศึกษาที่สมัคร หรือ

2.

สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่า
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ

3.

สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า หรืออนุปริญญาหรือเทียบเท่า
หรือปริญญาตรีหรือเทียบเท่า จากสถาบันการศึกษาที่สภาสถาบันการศึกษานั้นๆ รับรอง หรือ

4.

สำเร็จการศึกษาจากการศึกษานอกระบบ หรือผู้ที่ศึกษาตามอัธยาศัย และได้รับการเทียบโอนผลการศึกษา
ซึ่งสภาวิชาการพิจารณาแล้วเห็นสมควรให้รับเข้าศึกษาได้

หมายเหตุ

1)

ผู้มีคุณสมบัติตามข้อ 1 – 4 ต้องไม่เป็นโรคที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา หรือเคยถูกถอนสถานภาพ
การเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัย

2)

บุคคลซึ่งเคยถูกถอนสถานภาพการเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัย จะกลับเข้าศึกษาใหม่ได้หากสภาวิชาการ
พิจารณาเห็นสมควรให้เข้าศึกษาเมื่อพ้นกำหนด 5 ปี นับแต่วันประกาศถอนสถานภาพการเป็นนักศึกษา หรือ
เป็นนักศึกษาโครงการความร่วมมือในการจัดการศึกษา โดยพิจารณาเป็นรายกรณี

หลักสูตรประกาศนียบัตรการประกอบกิจการสื่อสารในยุคดิจิทัล

Certificate Program in Digital Media Entrepreneurship

ชื่อประกาศนียบัตร

ชื่อเต็มภาษาไทย

ประกาศนียบัตรการประกอบกิจการสื่อสารในยุคดิจิทัล

อักษรย่อภาษาไทย

ป. การประกอบกิจการสื่อสารในยุคดิจิทัล

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ

Certificate in Digital Media Entrepreneurship

อักษรย่อภาษาอังกฤษ

Cert. in Digital Media Entrepreneurship

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

1.

สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และ
ประกอบอาชีพมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี หลังจากจบมัธยมศึกษาตอนต้น หรือมีอายุไม่น้อยกว่า 25 ปีบริบูรณ์
ในวันเปิดภาคการศึกษาที่สมัคร หรือ

2.

สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่า
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ

3.

สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า หรืออนุปริญญาหรือเทียบเท่า
หรือปริญญาตรีหรือเทียบเท่า จากสถาบันการศึกษาที่สภาสถาบันการศึกษานั้นๆ รับรอง หรือ

4.

สำเร็จการศึกษาจากการศึกษานอกระบบ หรือผู้ที่ศึกษาตามอัธยาศัย และได้รับการเทียบโอนผลการศึกษา
ซึ่งสภาวิชาการพิจารณาแล้วเห็นสมควรให้รับเข้าศึกษาได้

หมายเหตุ

1)

ผู้มีคุณสมบัติตามข้อ 1 – 4 ต้องไม่เป็นโรคที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา หรือเคยถูกถอนสถานภาพ
การเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัย

2)

บุคคลซึ่งเคยถูกถอนสถานภาพการเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัย จะกลับเข้าศึกษาใหม่ได้หากสภาวิชาการ
พิจารณาเห็นสมควรให้เข้าศึกษาเมื่อพ้นกำหนด 5 ปี นับแต่วันประกาศถอนสถานภาพการเป็นนักศึกษา หรือ
เป็นนักศึกษาโครงการความร่วมมือในการจัดการศึกษา โดยพิจารณาเป็นรายกรณี

หลักสูตรประกาศนียบัตรนวัตกรรมการสื่อสารสร้างสรรค์ (พลเมืองดิจิทัล)

Certificate Program in Creative Communication Innovation (Digital Citizen)

ชื่อประกาศนียบัตร

ชื่อเต็มภาษาไทย

ประกาศนียบัตรนวัตกรรมการสื่อสารสร้างสรรค์ (พลเมืองดิจิทัล)

อักษรย่อภาษาไทย

ป. นวัตกรรมการสื่อสารสร้างสรรค์ (พลเมืองดิจิทัล)

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ

Certificate in Creative Communication Innovation (Digital Citizen)

อักษรย่อภาษาอังกฤษ

Cert. in Creative Communication Innovation (Digital Citizen)

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

1.

สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และ
ประกอบอาชีพมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี หลังจากจบมัธยมศึกษาตอนต้น หรือมีอายุไม่น้อยกว่า 25 ปีบริบูรณ์
ในวันเปิดภาคการศึกษาที่สมัคร หรือ

2.

สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่า
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ

3.

สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า หรืออนุปริญญาหรือเทียบเท่า
หรือปริญญาตรีหรือเทียบเท่า จากสถาบันการศึกษาที่สภาสถาบันการศึกษานั้นๆ รับรอง หรือ

4.

สำเร็จการศึกษาจากการศึกษานอกระบบ หรือผู้ที่ศึกษาตามอัธยาศัย และได้รับการเทียบโอนผลการศึกษา
ซึ่งสภาวิชาการพิจารณาแล้วเห็นสมควรให้รับเข้าศึกษาได้

หมายเหตุ

1)

ผู้มีคุณสมบัติตามข้อ 1 – 4 ต้องไม่เป็นโรคที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา หรือเคยถูกถอนสถานภาพการเป็น
นักศึกษาของมหาวิทยาลัย

2)

บุคคลซึ่งเคยถูกถอนสถานภาพการเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัย จะกลับเข้าศึกษาใหม่ได้หากสภาวิชาการ
พิจารณาเห็นสมควรให้เข้าศึกษาเมื่อพ้นกำหนด 5 ปี นับแต่วันประกาศถอนสถานภาพการเป็นนักศึกษา หรือ
เป็นนักศึกษาโครงการความร่วมมือในการจัดการศึกษา โดยพิจารณาเป็นรายกรณี

หลักสูตรประกาศนียบัตรนวัตกรรมการสื่อสารสร้างสรรค์ (สุขภาวะสร้างสรรค์)

Certificate Program in Creative Communication Innovation (Creative Well-Being)

ชื่อประกาศนียบัตร

ชื่อเต็มภาษาไทย

ประกาศนียบัตรนวัตกรรมการสื่อสารสร้างสรรค์ (สุขภาวะสร้างสรรค์)

อักษรย่อภาษาไทย

ป. นวัตกรรมการสื่อสารสร้างสรรค์ (สุขภาวะสร้างสรรค์)

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ

Certificate in Creative Communication Innovation (Creative Well-Being)

อักษรย่อภาษาอังกฤษ

Cert. in Creative Communication Innovation (Creative Well-Being)

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

1.

สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และ
ประกอบอาชีพมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี หลังจากจบมัธยมศึกษาตอนต้น หรือมีอายุไม่น้อยกว่า 25 ปีบริบูรณ์
ในวันเปิดภาคการศึกษาที่สมัคร หรือ

2.

สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่า
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ

3.

สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า หรืออนุปริญญาหรือเทียบเท่า
หรือปริญญาตรีหรือเทียบเท่า จากสถาบันการศึกษาที่สภาสถาบันการศึกษานั้นๆ รับรอง หรือ

4.

สำเร็จการศึกษาจากการศึกษานอกระบบ หรือผู้ที่ศึกษาตามอัธยาศัย และได้รับการเทียบโอนผลการศึกษา
ซึ่งสภาวิชาการพิจารณาแล้วเห็นสมควรให้รับเข้าศึกษาได้

หมายเหตุ

1)

ผู้มีคุณสมบัติตามข้อ 1 – 4 ต้องไม่เป็นโรคที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา หรือเคยถูกถอนสถานภาพ
การเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัย

2)

บุคคลซึ่งเคยถูกถอนสถานภาพการเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัย จะกลับเข้าศึกษาใหม่ได้หากสภาวิชาการ
พิจารณาเห็นสมควรให้เข้าศึกษาเมื่อพ้นกำหนด 5 ปี นับแต่วันประกาศถอนสถานภาพการเป็นนักศึกษา หรือ
เป็นนักศึกษาโครงการความร่วมมือในการจัดการศึกษา โดยพิจารณาเป็นรายกรณี

หลักสูตรประกาศนียบัตรการสื่อสารชุมชน

Certificate in Communication for Community

ชื่อประกาศนียบัตร

ชื่อเต็มภาษาไทย

ประกาศนียบัตรการสื่อสารชุมชน

อักษรย่อภาษาไทย

ป. การสื่อสารชุมชน

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ

Certificate in Communication for Community

อักษรย่อภาษาอังกฤษ

Cert. in Communication for Community

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

1.

สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และ
ประกอบอาชีพมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี หลังจากจบมัธยมศึกษาตอนต้น หรือมีอายุไม่น้อยกว่า 25 ปีบริบูรณ์
ในวันเปิดภาคการศึกษาที่สมัคร หรือ

2.

สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่า
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ

3.

สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า หรืออนุปริญญาหรือเทียบเท่า
หรือปริญญาตรีหรือเทียบเท่า จากสถาบันการศึกษาที่สภาสถาบันการศึกษานั้นๆ รับรอง หรือ

4.

สำเร็จการศึกษาจากการศึกษานอกระบบ หรือผู้ที่ศึกษาตามอัธยาศัย และได้รับการเทียบโอนผลการศึกษา
ซึ่งสภาวิชาการพิจารณาแล้วเห็นสมควรให้รับเข้าศึกษาได้

หมายเหตุ

1)

ผู้มีคุณสมบัติตามข้อ 1 – 4 ต้องไม่เป็นโรคที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา หรือเคยถูกถอนสถานภาพ
การเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัย

2)

บุคคลซึ่งเคยถูกถอนสถานภาพการเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัย จะกลับเข้าศึกษาใหม่ได้หากสภาวิชาการ
พิจารณาเห็นสมควรให้เข้าศึกษาเมื่อพ้นกำหนด 5 ปี นับแต่วันประกาศถอนสถานภาพการเป็นนักศึกษา หรือ
เป็นนักศึกษาโครงการความร่วมมือในการจัดการศึกษา โดยพิจารณาเป็นรายกรณี

ข้อมูลหลักสูตรระดับปริญญาตรี

หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต แขนงวิชาการสื่อสารดิจิทัล

Bachelor of Communication Arts Program in Digital Communication

ชื่อปริญญา

ชื่อเต็มภาษาไทย

นิเทศศาสตรบัณฑิต (การสื่อสารดิจิทัล)

อักษรย่อภาษาไทย

นศ.บ. (การสื่อสารดิจิทัล)

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ

Bachelor of Communication Arts (Digital Communication)

อักษรย่อภาษาอังกฤษ

B.Com.Arts (Digital Communication)

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

1.

สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่าตามที่
กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ

2.

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทุกสาขาวิชา หรือ

3.

สำเร็จการศึกษาอนุปริญญา หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่ง หรือเทียบเท่าจากสถาบันอุดมศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยนั้น ๆ รับรอง

หมายเหตุ

1)

ผู้มีคุณสมบัติตามข้อ 1 – 3 ต้องไม่เป็นโรคที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา หรือเคยถูกถอนสถานภาพ
การเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัยเนื่องจากความประพฤติเสื่อมเสีย

2)

บุคคลซึ่งเคยถูกถอนสถานภาพการเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัย เนื่องจากความประพฤติเสื่อมเสียจะกลับ
เข้าศึกษาใหม่ได้เป็นรายกรณี หากสภาวิชาการพิจารณาเห็นสมควรให้เข้าศึกษา เมื่อพ้นกำหนด 5 ปีนับแต่
วันประกาศถอนสถานภาพการเป็นนักศึกษา หรือเป็นนักศึกษาโครงการความร่วมมือในการจัดการศึกษา
ให้พิจารณาเป็นรายกรณี

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ศูนย์สารสนเทศ โทร. 0 2504 7788

Last updated: 17-March-2025; 11:21 AM

จัดทำข้อมูลโดย ฝ่ายพัฒนาหลักสูตรและการสอน สำนักวิชาการ

จัดทำระบบโดย คณะทำงานบริหารสารสนเทศในระบบอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช