สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์

หลักสูตรระดับปริญญาตรีและต่ำกว่าระดับปริญญาตรี
ประจำปีการศึกษา 2568

หลักสูตรระดับประกาศนียบัตร จำนวน 6 หลักสูตร

หลักสูตรระดับปริญญาตรี จำนวน 3 หลักสูตร

ข้อมูลหลักสูตรระดับประกาศนียบัตร

หลักสูตรประกาศนียบัตรการจัดการการผลิตผักในระบบเกษตรอัจฉริยะ

Certificate Program in Vegetable Production Management
in Smart Farming System

ชื่อประกาศนียบัตร

ชื่อเต็มภาษาไทย

ประกาศนียบัตรการจัดการการผลิตผักในระบบเกษตรอัจฉริยะ

อักษรย่อภาษาไทย

ป. การจัดการการผลิตผักในระบบเกษตรอัจฉริยะ

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ

Certificate in Vegetable Production Management in Smart Farming System

อักษรย่อภาษาอังกฤษ

Cert. in Vegetable Production Management in Smart Farming System

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

1.

สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และประกอบอาชีพมาแล้ว
ไม่น้อยกว่า 5 ปี หลังจากจบมัธยมศึกษาตอนต้น หรือมีอายุไม่น้อยกว่า 25 ปีบริบูรณ์ ในวันเปิดภาคการศึกษาที่สมัคร
หรือ

2.

สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่า ตามที่
กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ

3.

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า หรืออนุปริญญาหรือเทียบเท่า หรือ
ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า จากสถาบันการศึกษาที่สภาสถาบันการศึกษานั้น ๆ รับรอง

หลักสูตรประกาศนียบัตรการจัดการการผลิตพืชไร่และพืชอาหารสัตว์เชิงธุรกิจ

Certificate Program in Field Crop and Forage Crop Management for Business

ชื่อประกาศนียบัตร

ชื่อเต็มภาษาไทย

ประกาศนียบัตรการจัดการการผลิตพืชไร่และพืชอาหารสัตว์เชิงธุรกิจ

อักษรย่อภาษาไทย

ป. การจัดการการผลิตพืชไร่และพืชอาหารสัตว์เชิงธุรกิจ

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ

Certificate in Field Crop and Forage Crop Management for Business

อักษรย่อภาษาอังกฤษ

Cert. in Field Crop and Forage Crop Management for Business

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

1.

สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และประกอบอาชีพมาแล้ว
ไม่น้อยกว่า 5 ปี หลังจากจบมัธยมศึกษาตอนต้น หรือมีอายุไม่น้อยกว่า 25 ปีบริบูรณ์ ในวันเปิดภาคการศึกษาที่สมัคร
หรือ

2.

สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่า ตามที่
กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ

3.

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า หรืออนุปริญญาหรือเทียบเท่า หรือ
ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า จากสถาบันการศึกษาที่สภาสถาบันการศึกษานั้น ๆ รับรอง

หลักสูตรประกาศนียบัตรการจัดการการผลิตไม้ประดับและภูมิทัศน์เชิงธุรกิจ

Certificate Program in Ornamental Plant Production and
Landscape Management for Business

ชื่อประกาศนียบัตร

ชื่อเต็มภาษาไทย

ประกาศนียบัตรการจัดการการผลิตไม้ประดับและภูมิทัศน์เชิงธุรกิจ

อักษรย่อภาษาไทย

ป. การจัดการการผลิตไม้ประดับและภูมิทัศน์เชิงธุรกิจ

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ

Certificate in Ornamental Plant Production and Landscape Management for Business

อักษรย่อภาษาอังกฤษ

Cert. in Ornamental Plant Production and Landscape Management for Business

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

1.

สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และประกอบอาชีพมาแล้ว
ไม่น้อยกว่า 5 ปี หลังจากจบมัธยมศึกษาตอนต้น หรือมีอายุไม่น้อยกว่า 25 ปีบริบูรณ์ ในวันเปิดภาคการศึกษาที่สมัคร
หรือ

2.

สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่า ตามที่
กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ

3.

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า หรืออนุปริญญาหรือเทียบเท่า หรือ
ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า จากสถาบันการศึกษาที่สภาสถาบันการศึกษานั้น ๆ รับรอง

หลักสูตรประกาศนียบัตรการจัดการการผลิตไม้ผลในระบบเกษตรอัจฉริยะ

Certificate Program in Fruit Production Management in Smart Farming System

ชื่อประกาศนียบัตร

ชื่อเต็มภาษาไทย

ประกาศนียบัตรการจัดการการผลิตไม้ผลในระบบเกษตรอัจฉริยะ

อักษรย่อภาษาไทย

ป. การจัดการการผลิตไม้ผลในระบบเกษตรอัจฉริยะ

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ

Certificate in Fruit Production Management in Smart Farming System

อักษรย่อภาษาอังกฤษ

Cert. in Fruit Production Management in Smart Farming System

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

1.

สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และประกอบอาชีพมาแล้ว
ไม่น้อยกว่า 5 ปี หลังจากจบมัธยมศึกษาตอนต้น หรือมีอายุไม่น้อยกว่า 25 ปีบริบูรณ์ ในวันเปิดภาคการศึกษาที่สมัคร
หรือ

2.

สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่า ตามที่
กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ

3.

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า หรืออนุปริญญาหรือเทียบเท่า หรือ
ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า จากสถาบันการศึกษาที่สภาสถาบันการศึกษานั้น ๆ รับรอง

หลักสูตรประกาศนียบัตรบริหารธุรกิจสหกรณ์และธุรกิจชุมชน

Certificate Program in Business Administration Co-operatives and
Community Business

ชื่อประกาศนียบัตร

ชื่อเต็มภาษาไทย

ประกาศนียบัตรบริหารธุรกิจสหกรณ์และธุรกิจชุมชน

อักษรย่อภาษาไทย

ป. บริหารธุรกิจสหกรณ์และธุรกิจชุมชน

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ

Certificate in Business Administration Co-operatives and Community Business

อักษรย่อภาษาอังกฤษ

Cert. in Business Administration Co-operatives and Community Business

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

1.

สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และ
ประกอบอาชีพมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี หลังจากจบมัธยมศึกษาตอนต้น หรือมีอายุไม่น้อยกว่า 25 ปีบริบูรณ์
ในวันเปิดภาคการศึกษาที่สมัคร หรือ

2.

สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่า
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ

3.

สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า หรืออนุปริญญาหรือเทียบเท่า หรือ
ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า จากสถาบันการศึกษาที่สภาสถาบันการศึกษานั้น ๆ รับรอง หรือ

4.

สำเร็จการศึกษาจากการศึกษานอกระบบหรือผู้ที่ศึกษาตามอัธยาศัย และได้รับการเทียบโอนผลการศึกษา
ซึ่งสภาวิชาการพิจารณาแล้วเห็นสมควรให้รับเข้าศึกษาได้

หลักสูตรประกาศนียบัตรส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร

Certificate Program in Agricultural Extension and Development

ชื่อประกาศนียบัตร

ชื่อเต็มภาษาไทย

ประกาศนียบัตรส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร

อักษรย่อภาษาไทย

ป. ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ

Certificate in Agricultural Extension and Development

อักษรย่อภาษาอังกฤษ

Cert. in Agricultural Extension and Development

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

1.

สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และประกอบอาชีพมาแล้ว
ไม่น้อยกว่า 5 ปี หลังจากจบมัธยมศึกษาตอนต้น หรือมีอายุไม่น้อยกว่า 25 ปีบริบูรณ์ ในวันเปิดภาคการศึกษาที่สมัคร
หรือ

2.

สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่า ตามที่
กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ

3.

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า หรืออนุปริญญาหรือเทียบเท่า หรือ
ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า จากสถาบันการศึกษาที่สภาสถาบันการศึกษานั้น ๆ รับรอง

ข้อมูลหลักสูตรระดับปริญญาตรี

หลักสูตรเกษตรศาสตรบัณฑิต แขนงวิชาการจัดการการเกษตร

Bachelor of Agriculture Program in Agricultural Management

ชื่อปริญญา

ชื่อเต็มภาษาไทย

เกษตรศาสตรบัณฑิต (การจัดการการเกษตร)

อักษรย่อภาษาไทย

กษ.บ. (การจัดการการเกษตร)

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ

Bachelor of Agriculture (Agricultural Management)

อักษรย่อภาษาอังกฤษ

B.Ag. (Agricultural Management)

วิชาเอกการจัดการการผลิตพืช

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

1.

สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ

2.

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่าทุกสาขาวิชา หรือ

3.

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่าประเภทวิชาเกษตรกรรม หรือ
อนุปริญญาหรือเทียบเท่าทางการเกษตร หรือ

4.

สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่าทางการเกษตร หรือ

5.

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่าที่มิใช่ประเภทวิชาเกษตรกรรม หรือ
อนุปริญญาหรือเทียบเท่า หรือปริญญาตรีหรือเทียบเท่าในสาขาวิชาอื่นที่มิใช่ทางการเกษตร

หมายเหตุ

1)

ผู้มีสิทธิเข้าศึกษาซึ่งมีคุณสมบัติตามข้อ 1 – 5 ต้องไม่เป็นโรคที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา หรือเคยถูกถอน
สถานภาพการเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัยเนื่องจากความประพฤติเสื่อมเสีย

2)

บุคคลซึ่งเคยถูกถอนสถานภาพการเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัย เนื่องจากความประพฤติเสื่อมเสียจะกลับ
เข้าศึกษาใหม่ได้เป็นรายกรณี หากสภาวิชาการพิจารณาเห็นสมควรให้เข้าศึกษา เมื่อพ้นกำหนด 5 ปี นับแต่
วันประกาศถอนสถานภาพการเป็นนักศึกษา หรือเป็นนักศึกษาโครงการความร่วมมือในการจัดการศึกษา
ให้พิจารณาเป็นรายกรณี

วิชาเอกการจัดการการผลิตสัตว์

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

1.

สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ

2.

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่าทุกสาขาวิชา หรือ

3.

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่าประเภทวิชาเกษตรกรรม หรือ
อนุปริญญาหรือเทียบเท่าทางการเกษตร หรือ

4.

สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทางการเกษตร หรือเทียบเท่า หรือ

5.

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่าที่มิใช่ประเภทวิชาเกษตรกรรม หรือ
อนุปริญญาหรือเทียบเท่า หรือปริญญาตรีหรือเทียบเท่าในสาขาวิชาอื่น ๆ
 ที่มิใช่ทางการเกษตร

หมายเหตุ

1)

ผู้มีสิทธิเข้าศึกษาซึ่งมีคุณสมบัติตามข้อ 1 – 5 ต้องไม่เป็นโรคที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา หรือเคยถูกถอน
สถานภาพการเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัยเนื่องจากความประพฤติเสื่อมเสีย

2)

บุคคลซึ่งเคยถูกถอนสถานภาพการเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัย เนื่องจากความประพฤติเสื่อมเสียจะกลับ
เข้าศึกษาใหม่ได้เป็นรายกรณี หากสภาวิชาการพิจารณาเห็นสมควรให้เข้าศึกษา เมื่อพ้นกำหนด 5 ปี นับแต่
วันประกาศถอนสถานภาพการเป็นนักศึกษา หรือเป็นนักศึกษาโครงการความร่วมมือในการจัดการศึกษา
ให้พิจารณาเป็นรายกรณี

วิชาเอกการจัดการทรัพยากรป่าไม้และสิ่งแวดล้อม

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

1.

สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ

2.

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่าทุกสาขาวิชา หรือ

3.

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาการป่าไม้ หรือ

4.

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่าประเภทวิชาเกษตรกรรม หรือ

5.

สำเร็จการศึกษาอนุปริญญาหรือเทียบเท่าทางวนศาสตร์ เกษตรศาสตร์ เกษตรกรรม หรือสาขาวิชาอื่น ๆ
ที่เกี่ยวข้อง หรือ

6.

สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่าทางวนศาสตร์ เกษตรศาสตร์ เกษตรกรรม หรือสาขาวิชาอื่น ๆ
ที่เกี่ยวข้อง หรือ

7.

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาอื่น ที่มิใช่ประเภทวิชาเกษตรกรรม หรือ

8.

สำเร็จการศึกษาอนุปริญญาหรือเทียบเท่าในสาขาวิชาอื่นๆ ที่มิใช่ทางการเกษตร หรือ

9.

สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่าในสาขาวิชาอื่นๆ ที่มิใช่ทางด้านการป่าไม้และการเกษตร

หมายเหตุ

1)

ผู้มีสิทธิเข้าศึกษาซึ่งมีคุณสมบัติตามข้อ 1 – 9 ต้องไม่เป็นโรคที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา หรือเคยถูกถอน
สถานภาพการเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัยเนื่องจากความประพฤติเสื่อมเสีย

2)

บุคคลซึ่งเคยถูกถอนสถานภาพการเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัย เนื่องจากความประพฤติเสื่อมเสียจะกลับ
เข้าศึกษาใหม่ได้เป็นรายกรณี หากสภาวิชาการพิจารณาเห็นสมควรให้เข้าศึกษา เมื่อพ้นกำหนด 5 ปี นับแต่
วันประกาศถอนสถานภาพการเป็นนักศึกษา หรือเป็นนักศึกษาโครงการความร่วมมือในการจัดการศึกษา
ให้พิจารณาเป็นรายกรณี

วิชาเอกธุรกิจการเกษตรและการประกอบการ

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

1.

สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ

2.

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่าทุกสาขาวิชา หรือ

3.

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าทางการเกษตร บริหารธุรกิจ หรือ

4.

สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่าทางการเกษตร บริหารธุรกิจ หรือ

5.

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาอื่นๆ ที่มิใช่ประเภทวิชาเกษตรกรรม บริหารธุรกิจ หรือปริญญาตรีหรือเทียบเท่าในสาขาวิชาอื่น ๆ ที่มิใช่ทางการเกษตร บริหารธุรกิจ

หมายเหตุ

1)

ผู้มีสิทธิเข้าศึกษาซึ่งมีคุณสมบัติตามข้อ 1 – 5 ต้องไม่เป็นโรคที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา หรือเคยถูกถอน
สถานภาพการเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัยเนื่องจากความประพฤติเสื่อมเสีย

2)

บุคคลซึ่งเคยถูกถอนสถานภาพการเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัย เนื่องจากความประพฤติเสื่อมเสียจะกลับ
เข้าศึกษาใหม่ได้เป็นรายกรณี หากสภาวิชาการพิจารณาเห็นสมควรให้เข้าศึกษา เมื่อพ้นกำหนด 5 ปี นับแต่
วันประกาศถอนสถานภาพการเป็นนักศึกษา หรือเป็นนักศึกษาโครงการความร่วมมือในการจัดการศึกษา
ให้พิจารณาเป็นรายกรณี

หลักสูตรเกษตรศาสตรบัณฑิต วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร

Bachelor of Agriculture Program in Agricultural Extension and Development

ชื่อปริญญา

ชื่อเต็มภาษาไทย

เกษตรศาสตรบัณฑิต (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)

อักษรย่อภาษาไทย

กษ.บ. (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ

Bachelor of Agriculture (Agricultural Extension and Development)

อักษรย่อภาษาอังกฤษ

B.Ag. (Agricultural Extension and Development)

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

1.

สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ

2.

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ

3.

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรือเทียบเท่า ประเภทวิชาเกษตรกรรม หรือประเภทวิชาอื่น
ที่เกี่ยวข้อง หรือ

4.

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า หรือ

5.

สำเร็จการศึกษาอนุปริญญา หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่ง หรือเทียบเท่า จากสถาบันอุดมศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยนั้น ๆ
รับรอง

หมายเหตุ

1)

ผู้มีคุณสมบัติตามข้อ 1 – 5 ต้องไม่เป็นโรคที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา หรือเคยถูกถอนสถานภาพการเป็น
นักศึกษาของมหาวิทยาลัยเนื่องจากความประพฤติเสื่อมเสีย

2)

บุคคลซึ่งเคยถูกถอนสถานภาพการเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัย เนื่องจากความประพฤติเสื่อมเสียจะกลับ
เข้าศึกษาใหม่ได้เป็นรายกรณี หากสภาวิชาการพิจารณาเห็นสมควรให้เข้าศึกษา เมื่อพ้นกำหนด 5 ปีนับแต่
วันประกาศถอนสถานภาพการเป็นนักศึกษา หรือเป็นนักศึกษาโครงการความร่วมมือในการจัดการศึกษา
ให้พิจารณาเป็นรายกรณี

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต แขนงวิชาสหกรณ์และธุรกิจชุมชน

Bachelor of Business Administration Program in Co-operatives and
Community Business

ชื่อปริญญา

ชื่อเต็มภาษาไทย

บริหารธุรกิจบัณฑิต (สหกรณ์และธุรกิจชุมชน)

อักษรย่อภาษาไทย

บธ.บ. (สหกรณ์และธุรกิจชุมชน)

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ

Bachelor of Business Administration (Co-operatives and Community Business)

อักษรย่อภาษาอังกฤษ

B.B.A. (Co-operatives and Community Business)

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

1.

สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ

2.

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่า ตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ

3.

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาพณิชยกรรม
การเงิน การบัญชี เศรษฐศาสตร์ บริหารธุรกิจ หรือสาขาวิชาที่กี่ยวข้องกับบริหารธุรกิจ หรือ

4.

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าที่มิใช่สาชาวิชาพณิชยกรรม
การเงิน การบัญชี เศรษฐศาสตร์ บริหารธุรกิจ หรือสาขาวิชาที่ไม่เกี่ยวข้องกับบริหารธุรกิจ หรือ

5.

สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่าในสาขาวิชาพณิชยกรรม การเงิน การบัญชี เศรษฐศาสตร์ บริหารธุรกิจ
หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับบริหารธุรกิจ จากสถาบันอุดมศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยนั้น ๆ รับรอง หรือ

6.

สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่าที่มิใช่สาขาวิชาพณิชยกรรม การเงิน การบัญชี เศรษฐศาสตร์ บริหารธุรกิจ
หรือสาขาวิชาที่ไม่เกี่ยวข้องกับบริหารธุรกิจ จากสถาบันอุดมศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยนั้น ๆ รับรอง

หมายเหตุ

1)

ผู้มีคุณสมบัติตามข้อ 1 – 6 ต้องไม่เป็นโรคที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา หรือเคยถูกถอนสถานภาพการเป็น
นักศึกษาของมหาวิทยาลัยเนื่องจากความประพฤติเสื่อมเสีย

2)

บุคคลซึ่งเคยถูกถอนสถานภาพการเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัย เนื่องจากความประพฤติเสื่อมเสียจะกลับ
เข้าศึกษาใหม่ได้เป็นรายกรณี หากสภาวิชาการพิจารณาเห็นสมควรให้เข้าศึกษา เมื่อพ้นกำหนด 5 ปี นับแต่
วันประกาศถอนสถานภาพการเป็นนักศึกษาหรือเป็นนักศึกษาโครงการความร่วมมือในการจัดการศึกษา
ให้พิจารณาเป็นรายกรณี

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ศูนย์สารสนเทศ โทร. 0 2504 7788

Last updated: 17-March-2025; 10:10 AM

จัดทำข้อมูลโดย ฝ่ายพัฒนาหลักสูตรและการสอน สำนักวิชาการ

จัดทำระบบโดย คณะทำงานบริหารสารสนเทศในระบบอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช